A theme of the age, at least in the developed world, is that people crave silence and can find none. The roar of traffic, the ceaseless beep of phones, digital announcements in buses and trains, TV sets blaring even in empty offices, are an endless battery and distraction. The human race is exhausting itself with noise and longs for its opposite—whether in the wilds, on the wide ocean or in some retreat dedicated to stillness and concentration. Alain Corbin, a history professor, writes from his refuge in the Sorbonne, and Erling Kagge, a Norwegian explorer, from his memories of the wastes of Antarctica, where both have tried to escape.
And yet, as Mr Corbin points out in "A History of Silence", there is probably no more noise than there used to be. Before pneumatic tyres, city streets were full of the deafening clang of metal-rimmed wheels and horseshoes on stone. Before voluntary isolation on mobile phones, buses and trains rang with conversation. Newspaper-sellers did not leave their wares in a mute pile, but advertised them at top volume, as did vendors of cherries, violets and fresh mackerel. The theatre and the opera were a chaos of huzzahs and barracking. Even in the countryside, peasants sang as they drudged. They don’t sing now.
What has changed is not so much the level of noise, which previous centuries also complained about, but the level of distraction, which occupies the space that silence might invade. There looms another paradox, because when it does invade—in the depths of a pine forest, in the naked desert, in a suddenly vacated room—it often proves unnerving rather than welcome. Dread creeps in; the ear instinctively fastens on anything, whether fire-hiss or bird call or susurrus of leaves, that will save it from this unknown emptiness. People want silence, but not that much. | ในช่วงอายุของคน อย่างน้อยก็ในโลกที่พัฒนาแล้ว มีผู้คนที่โหยหาความเงียบสงบที่ขาดหายไป เสียงเปล่งคำรามของจราจร เสียงปี๊ปไม่รู้จบจากสัญญาณโทรศัพท์ เสียงประกาศตามสายดิจิตอลของรถโดยสารและรถไฟ ทีวีที่เปล่งเสียงในห้องทำงานที่ว่างเปล่า เป็นการทำงานของของพลังงานและรบกวนอย่างไม่มีที่สิ้นสุด มนุษย์ชาติกำลังอ่อนล้ากับเสียงที่ตัวเองสร้างขึ้นและกำลังหันกลับไปปรารถนาในทางตรงกันข้าม ไม่ว่าจะอยู่ป่าดงพงพี ในมหาสมุทรที่กว้างไกล หรือถอยกลับไปอยู่ที่ที่สามารถทุ่มเทกำลังเพื่อความหยุดนิ่งและตั้งมั่นได้ อย่างที่ อเลน คอร์บิน ศาสตราจารย์ทางด้านประวัติศาสตร์ได้เขียนไว้ถึงเมื่อคราวที่เขาได้หลบภัยไปพำนักอยู่ที่ซอร์บอนน์ และ เออร์ริ่ง แคกก์ นักสำรวจขาวนอร์เวย์ บันทึกจากความทรงจำของเขาเกี่ยวกับขยะในแอนตาร์กติกา เป็นที่ๆ ทั้งสองได้พยายามไปเพื่อที่จะได้หลีกหนีจากเสียงแห่งความวุ่นวาย ถึงกระนั้น ดังที่นายคอร์บินได้ชี้ให้เห็นถึงเรื่อง “ประวัติศาสตร์แห่งความเงียบ” ว่ามันอาจจะไม่ได้มีเสียงดังมากไปกว่าเสียงที่เคยมี ก่อนหน้าที่ยางนิวเมติกจะเกิด ถนนในเมืองเต็มไปด้วยความอื้ออึงของล้อโลหะและเกือกม้ากระทบบนหิน ก่อนที่จะสมัครใจที่จะแยกตัวเองไปอยู่กับโทรศัพท์มือถือ บนรถโดยสารและรถไฟก็ส่งเสียงสอดประสานแล้วอยู่แล้ว คนขายหนังสือพิมพ์ก็ไม่มีทางจะปล่อยให้หนังสือพิมพ์ของเขากองอยู่ในความเงียบ แต่กลับส่งเสียงโฆษณามันออกไปด้วยเสียงอันดังที่สุดที่เขาจะทำได้เฉกเช่นเดียวกันกับคนขายเชอรี่และปลาแมคเคอเรลสด โรงละครและโรงโอเปร่าเป็นสถานที่ที่เต็มไปด้วยความสับสนวุ่นวายดั่งเช่นสนามรบ แม้กระทั่งในชนบท ชาวไร่ชาวนาก็ส่งเสียงไปในขณะที่พวกเขากำลังตรากตรำทำงาน เวลานี้พวกเขาไม่ได้ร้องเพลงอีกต่อไปแล้ว อะไรคือสิ่งที่ทำให้ระดับของเสียงเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมายเช่นนี้ ซึ่งก็เป็นสิ่งที่มีการพร่ำบ่นมาแล้วในศตวรรษที่ผ่านมา แต่ในขณะที่ระดับความรำคาญกำลังคุมคามจับจองที่ว่างแห่งความเงียบ จะพบว่ามีช่องแห่งความขัดแย้งอื่นๆ เกิดขึ้น เพราะเมื่อไหร่ที่รู้สึกถูกคุมคามด้วยเสียง แล้วอยู่ในส่วนลึกของป่าสน ในท้องทะเลทรายที่เวิ้งว้าง ในห้องพักที่ว่างเปล่า บ่อยครั้ง กลับพบกับความน่าสะพรึงกลัวมากไปกว่าความรู้สึกแห่งการต้อนรับ กลับกลายเป็นความประหวั่นพรั่นพรึงคืบคลานเข้ามาแทนที่ สัญชาติญาณแห่งการได้ยินถูกปลุกให้ได้ยินเสียงต่างๆ ยังรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นเสียงของประกายไฟ หรือเสียงนกร้อง หรือเสียงพลิ้วไหวของใบไม้ นั่นกลับเป็นสิ่งที่ทำให้เรารู้สึกปลอดภัยจากสิ่งที่ไม่อาจจะรู้ได้ในความว่างเปล่า ผู้คนต้องการความเงียบก็จริง แต่อาจจะไม่ใช่ทั้งหมด |