To see the desired glossary, please select the language and then the field of expertise.

    Home
    • Hindi
      • Internet, e-Commerce
        • Search
          • Term
            • फ़्लैश मॉब (आकस्मिक भीड़)
          • Additional fields of expertise
          • Definition(s)
            • सूचना और संचार क्राँति का एक मज़ेदार प्रयोग इन दिनों पश्चिमी देशों में दिखाई दे रहा है. यह न्यूयॉर्क से शुरु हुआ और अब ब्रिटेन के शहरों तक आ पहुँचा है. हो यह रहा है कि दो-तीन सौ लोगों को इंटरनेट के ज़रिए संदेश भेजकर यानी ई-मेल भेजकर शहर में किसी भी जगह इकट्ठा कर लिया जाता है और फिर यह भीड़ किसी भी दुकान में घुस जाते हैं. इनका उद्देश्य सिर्फ एक माहौल बनाना है जिसमें अफ़रा-तफ़री जैसा कुछ दृश्य होता है और ख़ूब शोर-शराबा होता है. इस तरह की भीड़ से, जिसे 'फ्लैश मॉब' कहा जा रहा है, अब तक किसी गड़बड़ी फैलने की शिकायत नहीं मिली है. BBC - by Lalit Sati
          • Example sentence(s)
            • इस तरह की भीड़ से, जिसे 'फ्लैश मॉब' कहा जा रहा है, अब तक किसी गड़बड़ी फैलने की शिकायत नहीं मिली है. - BBC by Lalit Sati
          • Related KudoZ question
    Compare [close]
    • Chinese
      • Internet, e-Commerce
        • Search
          • Term
            • 快闪族,快闪党
          • Additional fields of expertise
          • Definition(s)
            • 快闪族 (Flash mob)是一群互不相识的人,透过因特网相约在指定时间和地点集合,然后一起做出一些无意义的动作,例如拍手掌、叫口号等。 快闪族是于2003年最先在纽约出现,后来扩展至欧洲、亚洲等。 快闪是英文Flash Mob的中文翻译,它最早起源于2003年5月美国纽约的曼哈顿。当时一个名叫比尔的组织者召集了500余人,在纽约时代广场的玩具反斗城中,朝拜一条机械恐龙,5分钟后众人突然迅速离去,快闪族因此而闻名。 快闪族是都市时尚文化中的一种,是现代人在忙碌之余和世界开的一个善意的玩笑。他们当中的多数人表示,如果活动设计合理,自己将会主动参加。当然,也有些人因为担心造成误会,而采取保守的态度。 如今,快闪活动已风靡全球,罗马、东京、香港、台湾等地,都可以见到快闪族的身影,以及他们类似于行为艺术的表演或娱乐。 豆瓣 - by Alvin Liu
          • Example sentence(s)
            • 这是广州某大学三年级学生Topku的一个假想行动,从设想来看它完全符合Flash mob——快闪族的标准:突然出现、突然怪异、突然消失。Flash mob是个新词,词源有两个,一是Flash crowd,指一群人为一个目的,同时进入一个网站;另一个是Smart mob,指一群有相同见解的人,利用先进科技例如互联网等,在无领袖状态下组织集会。因此被译作快闪族、快闪党或暴走族的Flash mob实际上就是透过互联网召集数以百计互不相识的人,在指定时间涌到指定地点完成某些稀奇古怪的任务后,又在短时间内迅速消失。 - 网易 by Alvin Liu
          • Related KudoZ question
    Compare [close]
    • Thai
      • Internet, e-Commerce
        • Search
          • Term
            • แฟลชม็อบ
          • Additional fields of expertise
          • Definition(s)
            • การนัดรวมตัวในสถานที่สาธารณะเพื่อทำกิจกรรมบางอย่างในเวลาสั้นๆ แล้วแยกย้ายจากกันไปเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น Own research - by Kim Meyers
          • Example sentence(s)
            • "การชุมนุมของกลุ่มคนกว่า 4 พันคน ณ กรุงลอนดอน คือการรวมตัวกันก่อ “ม็อบชั่วพริบตา” หรือว่า Flash Mob ครั้งล่าสุด หลังจากที่แฟลชม็อบถือกำเนิดขึ้นในปี 2546 และเป็นปรากฏการณ์แรกที่ทำให้คนทั่วโลกได้รู้จัก ‘การชุมนุม’ ที่ไม่มีข้อเรียกร้อง ไม่ได้คิดต่อต้านใคร จะมีก็แต่ความพึงพอใจที่ได้แสดงออกซึ่งการกระทำบางอย่างร่วมกันเท่านั้น" "แฟลชม็อบครั้งแรก เกิดจากกลุ่มคนราว 100 คนที่เข้าไปกลุ้มรุมพนักงานขายพรมในห้าง Macy ซึ่งเป็นห้างสรรพสินค้าชื่อดังแห่งหนึ่งในย่านแมนฮัตตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 3 มิถุนายน 2546 โดยเงื่อนไขที่ม็อบต้องปฏิบัติตามก็คือว่า ถ้ามีพนักงานขายคนไหนสอบถามว่าพวกเขามาจากไหน ให้ทุกคนตอบเหมือนกันว่าพวกเขามาจากชุมชนแห่งหนึ่งซึ่งอยู่ในชนบท-ทางตอนเหนือของเมืองนิวยอร์ก และพวกเขาตั้งใจจะมาซื้อ ‘พรมแห่งความรัก’ ไปไว้ในชุมชน ซึ่งหมายความว่าการจะตัดสินใจซื้อพรมสักผืน ขึ้นอยู่ความเห็นชอบของคนทั้งหมดร้อยกว่าคน... ยังไม่ทันที่พนักงานขายจะหายงงหรือตั้งรับกลุ่มคนมากมายที่กรูเข้ามาสอบถามเรื่องพรมราคาเรือนแสนที่วางโชว์อยู่เรียงราย จู่ๆ คนเหล่านั้นก็แยกย้ายสลายตัวไปจากห้าง-เหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้นมาก่อน ทิ้งให้พนักงานขายงุนงงกับ ‘ม็อบ’ หรือ ‘การรวมตัวของกลุ่มคน’ ที่มองไม่เห็นว่ามีการจัดตั้งหรือมาชุมนุมกันได้อย่างไร และคำถามที่น่าสงสัยกว่านั้นก็คือพวกเขารวมตัวกันทำแบบนั้น ‘เพื่ออะไร?’" "จากการกล่าวอ้างของ ‘บิล วาสิก’ – Bill Wasik บรรณาธิการอาวุโสแห่งนิตยสาร Harper’s Magazine ซึ่งเขียนบทความเผยแพร่ในฮาร์เปอร์สเมื่อปี 2549 เขาบอกว่าแฟลชม็อบที่แมนฮัตตัน เกิดจากการที่เขาส่งข้อความไปยังชื่อและที่อยู่ในอีเมล์ลิสต์ของเขา เพื่อนัดแนะให้กลุ่มคนที่ (อาจจะ) ไม่เคยเห็นหน้าค่าตากันมาก่อน ออกมารวมตัวกัน และทำกิจกรรมแปลกๆ ที่เขาตั้งเงื่อนไขไว้ โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ทุกคนมา ‘สนุก’ ด้วยกันก็เท่านั้น" "บิล วาสิก อธิบายไว้ในบทความของตัวเองว่าแรงจูงใจในการจัดแฟลชม็อบครั้งนั้น เป็นเพราะเขาต้องการทดลองปรากฏการณ์ทางสังคม และอีกแง่หนึ่งก็อยากจะแหย่พวก ‘ฮิปสเตอร์’ หรือ ‘เด็กแนว’ ที่กินความถึงคนหนุ่มสาววัยใกล้ยี่สิบไปจนถึงสามสิบต้นๆ ที่พยายามแสดงออกซึ่งความมีตัวตนของตัวเองผ่านการเข้าร่วมหรือการเป็นส่วนหนึ่งในเหตุการณ์ใหญ่ๆ ที่สังคมจะพูดถึงและจดจำในขณะหนึ่ง" "การทดลองของวาสิกประสบความสำเร็จ เพราะหลังจากแฟลชม็อบเกิดขึ้นที่แมนฮัตตันก็มีการจัดตั้งม็อบแบบนี้ในพื้นที่ต่างๆ ทั่วสหรัฐฯ และข่าวคราวก็แพร่สะพัดผ่านเทคโนโลยีการสื่อสารสมัยใหม่ไปยังประเทศอื่นๆ ทั่วโลก ทำให้แนวคิดเรื่องแฟลชม็อบแพร่ระบาดไปไกลกว่าที่คิด ซึ่งคงต้องยกเครดิตให้กับวาสิกในฐานะผู้สร้างกระแส (Trend Setter) ให้ม็อบสายพันธุ์ใหม่เกิดขึ้นในโลกแห่งการชุมนุม" - Action for Change by Kim Meyers
            • "ม็อบในต่างบ้านต่างเมืองนั้นพัฒนารูปแบบกันไปไม่หยุดนิ่ง ในยุคที่การเมืองคือตัวการของปัญหาทุกอย่าง ม็อบถูกตั้งขึ้นเพื่อชนกับผู้นำประเทศ แต่ในยุคถัดมาที่ทุกปัญหามันช่างสลับซับซ้อน ไม่ได้รวมศูนย์อยู่ที่การเมือง ม็อบก็โยกย้ายตัวเองไปชนกับต้นตอของปัญหาในสาขาที่หลากหลาย พอมาถึงยุคที่เทคโนโลยีการสื่อสารฟูเฟื่อง ม็อบก็เคลื่อนไหวกันผ่านเอสเอ็มเอส เว็บไซต์ อีเมล์ มาจนกระทั่งเฟสบุ๊ก และทวิตเตอร์" "จนกระทั่งเกิดสิ่งที่เรียกว่า แฟลชม็อบ (Flash Mob) หรือการนัดรวมตัวในสถานที่สาธารณะเพื่อทำกิจกรรมบางอย่างในเวลาสั้นๆ แล้วแยกย้ายจากกันไปเหมือนไม่มีอะไรเกิดขึ้น ทิศทางการชุมนุมกันของประชาชนบนโลกใบนี้ก็ไม่เหมือนเดิมอีกต่อไป คือมีการชุมนุมกันเพื่อความสนุกอย่างเดียวเพื่อสร้างงานศิลปะเพื่อสะท้อนปัญหาบางอย่างในความเป็นเมืองผ่านกิจกรรมครีเอทีฟและประชดประชันรวมถึงไปนวัตกรรมล่าสุดที่เรียกว่า แครอทม็อบ (Carrot Mob)" - NGO Biz by Kim Meyers
            • "...ปรากฎการณ์ที่เกิดในครั้งนี้ น่าจะเป็นเทรนด์ของการรวมตัวทำกิจกรรมของผู้คนในอนาคต ด้วยการที่แค่บอกว่า “มาทำอะไรกันเถอะ” แล้วคนก็มารวมตัวกันทำกิจกรรมที่ใช้เวลาไม่นานแล้วก็สลายตัวจากไป" "โดยกิจกรรมรูปแบบนี้จะขยายตัวจาก “ไมโครอีเวนท์” ของชุมชนออนไลน์ไปสู่ “แฟลช ม็อบ” ที่กำลังได้รับความสนใจในต่างประเทศ ที่นัดคนจำนวนมากมาทำกิจกรรมแล้วสลายตัวไปแบบรวดเร็ว โดยมีการถ่ายทอดสดไปลงเว็บไซต์ หรือถ่ายวิดีโอลงเว็บไซต์ยูว์ทูวป์ เป็นต้น" - Thairath Newspaper Online by Kim Meyers
          • Related KudoZ question
  • Compare this term in: Croatian, Albanian, Arabic, Catalan, Czech, Danish, German, Dutch, English, Spanish, Persian (Farsi), Finnish, French, Hebrew, Hungarian, Indonesian, Italian, Japanese, Korean, Latvian, Lithuanian, Norwegian, Phoenician, Polish, Portuguese, Romanian, Russian, Slovak, Swedish, Turkish, Ukrainian

The glossary compiled from Glossary-building KudoZ is made available openly under the Creative Commons "By" license (v3.0). By submitting this form, you agree to make your contribution available to others under the terms of that license.

Creative Commons License