English term
bus topology
Bus topology has some disadvantages. When there is heavy traffic on cables then bus topology will not work properly. Sometime due to heavy traffic network may stop working. (blurtit)
With the Bus topology, all workstations are connect directly to the main backbone that carries the data. Traffic generated by any computer will travel across the backbone and be received by all workstations. This works well in a small network of 2-5 computers, but as the number of computers increases so will the network traffic and this can greatly decrease the performance and available bandwidth of your network. (firewall.cx)
To avoid signal reflection, a physical bus topology requires that each end of the physical bus be terminated. (brainbell.com)
5 +1 | โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส | kong |
4 +1 | การต่อโตรงข่ายเเบบบัส | setsie |
Sep 1, 2009 16:00: changed "Kudoz queue" from "In queue" to "Public"
Sep 1, 2009 16:00: Enrique Cavalitto changed "Stage" from "Preparation" to "Submission"
Sep 4, 2009 16:37: Mauricio Zoch changed "Stage" from "Submission" to "Selection"
Proposed translations
โครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบบัส
แผนการดำเนินงานในขั้นแรกของโครงการ (phase1) จะทำการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ตามโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายแบบ Video on Demand ดังรูปที่ 2 ซึ่งจะทำให้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (client) สามารถดูข้อมูลที่เป็นภาพเคลื่อนไหว และสามารถหยุด ย้อนกลับ (rewind) หรือกรอไปข้างหน้า (forward) ได้ตามต้องการ ทั้งนี้เครื่องคอมพิวเตอร์ลูกข่ายไม่จำเป็นต้องดูข้อมูลเดียวกัน กล่าวคือสามารถดูข้อมูลภาพเคลื่อนไหวที่ต่างกันได้ อุปกรณ์แต่ละชนิดในเครือข่ายทำหน้าที่ดังต่อไปนี้ (Nectec)
ประโยชน์ที่ได้รับคือ ผู้ใช้สามารถใช้งานไฟล์ และเข้าถึงข้อมูลได้อย่างต่อเนื่อง ผ่านระบบติดต่อแบบกราฟิกที่คุ้นเคย โดยไม่จำเป็นต้องเข้าใจคำสั่งบน UNIX ที่ยุ่งยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำสั่งของ NFS และไม่จำเป็นต้องเข้าใจโครงสร้างการเชื่อมต่อเครือข่ายที่ใช้สื่อสาร (First Logic)
การต่อโตรงข่ายเเบบบัส
• ลักษณะการทำงานของเครือข่าย โทโปโลยีแบบบัส คืออุปกรณ์ทุกชิ้นหรือโหนดทุกโหนด ในเครือข่ายจะต้องเชื่อมโยงเข้ากับสายสื่อสารหลักที่เรียกว่า"บัส" (BUS) เมื่อโหนดหนึ่งต้องการจะส่งข้อมูลไปให้ยังอีกโหนด หนึ่งภายในเครือข่าย จะต้องตรวจสอบให้แน่ใจก่อนว่าบัสว่างหรือไม่ ถ้าหากไม่ว่างก็ไม่สามารถจะส่งข้อมูลออกไปได้ ทั้งนี้เพราะสายสื่อสารหลักมีเพียงสายเดียว ในกรณีที่มีข้อมูลวิ่งมาในบัส ข้อมูลนี้จะวิ่งผ่านโหนดต่างๆ ไปเรื่อยๆ ในขณะที่แต่ละโหนดจะคอยตรวจสอบข้อมูลที่ผ่านมาว่าเป็นของตนเองหรือไม่ หากไม่ใช่ ก็จะปล่อยให้ข้อมูลวิ่งผ่านไป แต่หากเลขที่อยู่ปลายทาง ซึ่งกำกับมากับข้อมูลตรงกับเลขที่อยู่ของของตน โหนดนั้นก็จะรับข้อมูลเข้าไป (Lampang College of Commerce & Technology)
โทโปโลยีแบบบัส บางทีก็เรียกว่า Linear bus เพราะมีการเชื่อมต่อแบบเส้นตรงซึ่งเป็นลักษณะการเชื่อมต่อที่ง่ายที่สุด และเป็โทโปโลยีที่นิยมกันมากที่สุดในสมัยแรกๆ คอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อเข้ากับสายสัญญาณร่วม หรือ บัส จะสื่อสารกันโดยใช้ที่อยู่ (Address) ซึ่งคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องจะมีที่อยู่ที่ไม่ซ้ำกัน (Tasana)
Something went wrong...